เมษายน 19, 2024, 10:35:54 PM *
ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน
ส่งอีเมล์ยืนยันการใช้งาน?

เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน และระยะเวลาในเซสชั่น
 
   หน้าแรก   ช่วยเหลือ ค้นหา ปฏิทิน เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก  
หน้า: 1 [2]  ทั้งหมด   ลงล่าง
  พิมพ์  
ผู้เขียน หัวข้อ: สวดมนต์ เพื่อให้ถึงกรรมฐาน ๔ (พระปริตร)  (อ่าน 44319 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
เกียรติคุณ
ผู้ปฏิบัติธรรม
*****

พลังความดี : 65


เพศ: ชาย
อายุ: 46
กระทู้: 958
สมาชิก ID: 841


« ตอบ #15 เมื่อ: พฤศจิกายน 02, 2014, 03:01:44 PM »

Permalink: สวดมนต์ เพื่อให้ถึงกรรมฐาน ๔ (พระปริตร)

อาฏานาฏิยปริตร # ๔ (เตสัง สัจเจนะ (ภาณยักษ์))


ตั้งจิตระลึกถึงคุณแห่งพระเมตตาและกรุณาของพระพุทธเจ้า
จากนั้นตั้งจิตน้อมนำเอาพระบารมีนั้นแผ่เมตตาไปตามทิศทั้งหลาย
ขอให้ สัมภเวสี และ อมนุษย์ จงเป็นผู้มีสุข ปราศจากทุกข์
ขอให้ เทพยดาทั้งหลาย ท้าวจตุโลกบาลทั้ง ๔
มีท้าวเวสสุวรรณ(ท้าวกุเวร) ท้าวธตรฏฐ์ ท้าววิรุฬหก ท้าววิรูปักข์ จงเป็นผู้มีสุข ปราศจากทุกข์
ขอให้ท่านทั้งหลายเหล่านั้น จงเป็นมิตรอันดีแก่เรา จงดูแลคุ้มครองรักษาเรา อย่าได้ผูกเวรเบียดเบียนเรา
แล้วแผ่ไปให้เขาเหล่านั้นตามทิศต่างๆตามบทสวดดังนี้

                                                                       .

เตสัง สัจเจนะ สีเลนะ ขันติเมตตาพะเลนะ จะ
ด้วยสัจจะ ด้วยศีล และด้วยกำลังแห่งขันติ
และเมตตาของพระพุทธเจ้าเหล่านั้น

เตปิ ตุมเห อะนุรักขันตุ อาโรคะเยนะ สุเขนะ จะ
แม้คุณธรรมเหล่านั้น จงตามรักษาซึ่งท่านทั้งหลายเทอญ
ด้วยความเป็นผู้ไม่มีโรค มีแต่ความสุข


ปุรัตถิมัสมิง ทิสาภาเค สันติ ภูตา มะหิทธิกา
คนธรรพ์ทั้งหลาย ผู้มีฤทธิ์มาก มีอยู่ในทิศบูรพา
เตปิ ตุมเห อะนุรักขันตุ อาโรคะเยนะ สุเขนะ จะ
แม้คนธรรพ์เหล่านั้น จงตามรักษาซึ่งท่านทั้งหลายทอญ
ด้วยความเป็นผู้ไม่มีโรค มีแต่ความสุข


ทักขิณัสมิง ทิสาภาเค สันติ เทวา มะหิทธิกา
เทพยดาทั้งหลาย ผู้มีฤทธิ์มาก มีอยู่ในทิศทักษิณ
เตปิ ตุมเห อะนุรักขันตุ อาโรคะเยนะ สุเขนะ จะ
แม้เทพยดาเหล่านั้น จงตามรักษาซึ่งท่านทั้งหลายเทอญ
ด้วยความเป็นผู้ไม่มีโรค มีแต่ความสุข


ปัจฉิมัสมิง ทิสาภาเค สันติ นาคา มะหิทธิกา
นาคทั้งหลาย ผู้มีฤทธิ์มาก มีอยู่ในทิศปัศจิม
เตปิ ตุมเห อะนุรักขันตุ อาโรคะเยนะ สุเขนะ จะ
แม้นาคเหล่านั้น จงตามรักษาซึ่งท่านทั้งหลายเทอญ
ด้วยความเป็นผู้ไม่มีโรค มีแต่ความสุข


อุตตะรัสสมิง ทิสาภาเค สันติ ยักขา มะหิทธิกา
ยักษ์ทั้งหลาย ผู้มีฤทธิ์มาก มีอยู่ในทิศอุดร
เตปิ ตุมเห อะนุรักขันตุ อาโรคะเยนะ สุเขนะ จะ
แม้ยักษ์เหล่านั้น จงตามรักษาซึ่งท่านทั้งหลายเทอญ
ด้วยความเป็นผู้ไม่มีโรค มีแต่ความสุข


ปุริมะทิสัง ธะตะรัฏโฐ ทักขิเณนะ วิรุฬหะโก
ปัจฉิเมนะวิรูปักโข กุเวโร อุตตะรัง ทิสัง
ท้าวธตรฏฐ์ ประจำอยู่ทิศบูรพา
ท้าววิรุฬหก ประจำอยู่ทิศทักษิณ
ท้าววิรูปักข์ ประจำอยู่ทิศปัศจิม
ท้าวกุเวร ประจำอยู่ทิศอุดร

จัตตาโร เต มะหาราชา โลกะปาลา ยะสัสสิโน
มหาราชทั้ง 4 เหล่านั้น เป็นผู้มียศ รักษาโลก
เตปิ ตุมเห อะนุรักขันตุ อาโรคะเยนะ สุเขนะ จะ
แม้มหาราชเหล่านั้น จงตามรักษาซึ่งท่านทั้งหลายเทอญ
ด้วยความเป็นผู้ไม่มีโรค มีแต่ความสุข


อากาสัฏฐา จะ ภุมมัฏฐา เทวา นาคา มะหิทธิกา
เทพยดาและนาคทั้งหลาย ผู้มีฤทธิ์มาก
สถิตอยู่ในอากาศก็ดี สถิต อยู่ในภาคพื้นก็ดี

เตปิ ตุมเห อะนุรักขันตุ อาโรคะเยนะ สุเขนะ จะ
แม้เทพยดาและนาคเหล่านั้น
จงตามรักษาซึ่งท่านทั้งหลายเทอญ
ด้วยความเป็นผู้ไม่มีโรค มีแต่ความสุขทุกเมื่อเทอญ.





« แก้ไขครั้งสุดท้าย: พฤศจิกายน 02, 2014, 04:44:24 PM โดย เกียรติคุณ » บันทึกการเข้า
เกียรติคุณ
ผู้ปฏิบัติธรรม
*****

พลังความดี : 65


เพศ: ชาย
อายุ: 46
กระทู้: 958
สมาชิก ID: 841


« ตอบ #16 เมื่อ: พฤศจิกายน 02, 2014, 03:19:22 PM »

Permalink: สวดมนต์ เพื่อให้ถึงกรรมฐาน ๔ (พระปริตร)

อาฏานาฏิยปริตร # ๕ สัจจะกิริยา คาถา
                              .

ให้ตั้งสัจจะอธิษฐานขอถึงซึ่งพระรัตนตรัยเป็นที่พึ่งอันประเสริฐไปตลอดชีวิต




ให้ทำไว้ในใจระลึกบูชาถึงพระพุทธเจ้า ซึ่งเป็น ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน เป็นผู้บริสุทธิ์ บริบูรณ์สิ้นเชิง
กำหนดนิมิตว่าเราน้อมก้มลงกราบแทบเบื้องพระบาทของพระพุทธเจ้าพระองค์นั้นด้วยความเคารพศรัทธา
จากนั้นก็กล่าวพระคาถาดังนี้ว่า


นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง พุทโธ เม สะระณัง วะรัง,
สรณะอื่นของข้าพเจ้าไม่มี พระพุทธเจ้าเป็นสรณะอันประเสริฐของข้าพเจ้า
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะโสตถิเม โหตุ สัพพะทา
ด้วยการกล่าวคำสัตย์นี้ ขอความสวัสดีจงมีแก่ข้าพเจ้า



ให้ทำไว้ในใจระลึกบูชาถึงพระธรรมที่พระพุทธเจ้าตรัสสอนเพื่อเป็นเครื่องออกจากทุกข์
กำหนดนิมิตว่าเรานั่งอยู่ในส่วนข้างหนึ่งอันควรแล้วพระพุทธเจ้านั้นตรัสเทสนาธรรมแก่เรา
(ให้ระลึกถึงพระธรรมบทใด พระสูตรใด พระปริตรคาถาใดๆที่เราฟังหรือสวดแล้วสบายกายใจ
ที่เรานำมาปฏิบัติแล้วให้ผลออกจากทุกข์ได้จริง)
แล้วเรากราบลงน้อมรับในธรรมอันประเสริฐ อันเป็นเครื่องออกจากทุกข์ที่พระพุทธเจ้าตรัสสอนมาดีแล้ว
จากนั้นก็กล่าวพระคาถาดังนี้ว่า


นัตถิเม สะระณัง อัญญัง  ธัมโม เม สะระณัง วะรัง
ที่พึ่งอย่างอื่นของข้าพเจ้าไม่มี พระธรรมเป็นที่พึ่งอันประเสริฐของข้าพเจ้า
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โสตถิเม โหตุ สัพพะทา
ด้วยการกล่าวคำสัตย์นี้ ขอความสวัสดีจงมีแก่ข้าพเจ้า




ให้ทำไว้ในใจระลึกบูชาถึงคุณของพระสงฆ์สาวกของพระพุทธเจ้า
ผู้เป็นพระอรหันต์ และ พระอริยะเจ้าทั้งหลาย ครูบาอาจารย์ทั้งหลาย ผู้ได้ปฏิบัติดี ปฏิบัติชอบ ปฏิบัติตรงแล้ว
แลได้นำพระธรรมคำสอนของพระพุทธเจ้ามาเผยแพร่ให้เราได้รู้ตาม เป็น สังฆานุสสติ
จากนั้นก็กล่าวพระคาถาดังนี้ว่า


นัตถิเม สะระณัง อัญญัง  สังโฆ เม สะระณัง วะรัง
ที่พึ่งอย่างอื่นของข้าพเจ้าไม่มี พระสงฆ์เป็นที่พึ่งอันประเสริฐของข้าพเจ้า
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โสตถิเม โหตุสัพพะทา
ด้วยการกล่าวคำสัตย์นี้ ขอความสวัสดีจงมีแก่ข้าพเจ้า





อาฏานาฏิยปริตร # ๖ ยังกิญจิ ระตะนัง คาถา


ตั้งจิตระลึกถึงบูชาคุณของพระรัตนตรัย เป็น อนุสสติกรรมฐาน



พึงทำไว้ในใจระลึกถึงพระพุทธเจ้าว่า พระพุทธเจ้าประเสริฐที่สุดในสามโลกไม่มีใครเสมอเหมือน
มีพระเมตตาเอ็นดูต่อสรรพสัตว์ทั้งหลายเสมอกันหมดไม่เอนเอียง มีพระกรุณาดุจห้วงมหรรณพ
ได้ทรงนำพาสรรพสัตว์ทั้งหลายให้ได้รู้อมตะธรรมอันประเสริฐอันเป็นบรมสุข
ชี้นำทางสรรพสัตว์ทั้งหลายออกจากที่มืดไปสู่แสงสว่างให้ได้พ้นจากกองทุกข์ตาม
แม้เทวดาและพรหมทั้งหลายก็สักการะบูชา
จากนั้นก็กล่าวพระคาถาดังนี้ว่า


ยังกิญจิ ระตะนัง โลเก วิชชะติ วิวิธัง ปุถุ
รัตนะหลายหลากมากชนิด อันมีอยู่ในโลก
ระตะนัง พุทธะสะมัง นัตถิ
แต่รัตนะนั้นๆ ที่จะเสมอด้วยพระพุทธรัตนะ ย่อมไม่มี
ตัสมา โสตถี ภะวันตุ เต
เพราะเหตุนั้น ขอความสวัสดีทั้งหลาย จงมีแก่ท่าน




พึงทำไว้ในใจระลึกถึงพระธรรมที่พระพุทธเจ้าตรัสสอนไว้ดีแล้ว
ซึ่งเป็นธรรมอันประเสริฐที่สุดในสามโลกไม่มีธรรมใดเสมอเหมือน ด้วยเป็นอมตะธรรมอันประเสริฐ อันเป็นบรมสุข
เป็นทางนำพาสรรพสัตว์ทั้งหลายออกจากที่มืดไปสู่แสงสว่างให้ได้พ้นจากกองทุกข์ตามเป็นผล
แม้เทวดาและพรหมทั้งหลายก็สักการะบูชา
จากนั้นก็กล่าวพระคาถาดังนี้ว่า


ยังกิญจิ ระตะนัง โลเก วิชชะติ วิวิธัง ปุถุ
รัตนะหลายหลากมากชนิด อันมีอยู่ในโลก
ระตะนัง ธัมมะสะมัง นัตถิ
แต่รัตนะนั้นๆ ที่จะเสมอด้วยพระธรรมรัตนะ ย่อมไม่มี
ตัสมา โสตถี ภะวันตุ เต
เพราะเหตุนั้น ขอความสวัสดีทั้งหลาย จงมีแก่ท่าน




พึงทำไว้ในใจระลึกถึงพระสงฆ์สาวกของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย
มีพระอรหันตสาวกทั้งหลาย พระอริยะสาวกทั้งหลาย ครูบาอาจารย์ทั้งหลาย ผู้ปฏิบัติดี ปฏิบัติชอบ ปฏิบัติตรงแล้ว
ได้ปฏิบัติธรรมเพื่อเป็นเครื่องออกจากทุกข์แล้ว และ ได้เผยแพร่พระธรรมคำสอนของพระพุทธเจ้าได้เราได้รู้ตาม
ซึ่งเป็นสมณะสงฆ์ที่ประเสริฐที่สุดในสามโลกไม่มีสมณะสงฆ์ใดเสมอเหมือน ควรแก่เขากราบไหว้ต้อนรับ ควรแก่เขานำมาบูชา
ได้นำพระธรรมคำสอนของพระพุทธเจ้าเผยแพร่ให้สรรพสัตว์ทั้งหลาย
ได้รู้ทางออกจากที่มืดไปสู่แสงสว่างให้ได้พ้นจากกองทุกข์ตามเป็นผล
แม้เทวดาและพรหมทั้งหลายก็สักการะบูชา
จากนั้นก็กล่าวพระคาถาดังนี้ว่า


ยังกิญจิ ระตะนัง โลเก วิชชะติ วิวิธัง ปุถุ
รัตนะหลายหลากมากชนิด อันมีอยู่ในโลก
ระตะนัง สังฆะสะมัง นัตถิ
แต่รัตนะนั้นๆ ที่จะเสมอด้วยพระสังฆรัตนะ ย่อมไม่มี
ตัสมา โสตถี ภะวันตุ เต ฯ
เพราะเหตุนั้น ขอความสวัสดีทั้งหลาย จงมีแก่ท่าน ฯ





บทพระคาถานี้ผู้ที่ปฏิบัติและศรัทธาในพระพุทธศาสนา พระรัตนะตรัย
จะสามารถน้อมระลึกถึงด้วยความปราศจากกิเลส มีความสงบและจิตตั้งมั่น
จากความทำไว้ในใจจากการประกาศตนเป็นพุทธบริษัทนั้นด้วยเหตุดังนี้ว่า

- ศรัทธาในพระพุทธเจ้ายิ่ง เชื่อในการตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า ไม่มีความเคลือบแคลงสงสัยขัดเคืองกายใจ
- ศรัทธาในพระธรรมยิ่ง เชื่อและเข้าถึงซึ่งธรรมอันเป็นเครื่องออกจากทุกข์ที่พระพุทธเจ้าตรัสสอนไว้ดีแล้ว
- ศรัทธาในพระสงฆ์สาวกของพระพุทธเจ้า คือ พระอรหันต์ พระอริยะเจ้า ครูบาอาจารย์ผู้ปฏิบัติดี ปฏิบัติชอบ ปฏิบัติตรงแล้ว

เพราะมีศรัทธาเต็มกำลังใจอย่างนี้ๆ จิตเราจึงมีความมุ่งมั่นจดจ่อตั้งอยู่ที่พระรัตนตรัยโดยส่วนเดียว
เป็นเหตุทำให้จิตตั้งมั่นได้ง่าย จึงเข้าถึงซึ่งอุปจาระสมาธิได้ง่ายดังนี้

« แก้ไขครั้งสุดท้าย: พฤศจิกายน 03, 2014, 02:05:09 PM โดย เกียรติคุณ » บันทึกการเข้า
เกียรติคุณ
ผู้ปฏิบัติธรรม
*****

พลังความดี : 65


เพศ: ชาย
อายุ: 46
กระทู้: 958
สมาชิก ID: 841


« ตอบ #17 เมื่อ: พฤศจิกายน 02, 2014, 03:21:26 PM »

Permalink: สวดมนต์ เพื่อให้ถึงกรรมฐาน ๔ (พระปริตร)

อาฏานาฏิยปริตร # ๗ สักกัตตะวา คาถา





ตั้งจิตระลึกบูชาถึงคุณของพระพทุธเจ้า เป็น พุทธานุสสติ
แล้วระลึกว่า เรากราบแทบเบื้องพระบาทของพระองค์ จากนั้นสวดพระคาถาดังนี้


สักกัตตะวา พุทธะระตะนัง
เพราะทำความเคารพพระพุทธรัตนะ
โอสะถัง อุตตะมัง วะรัง
อันเป็นดั่งโอสถอันอุดมประเสริฐ


หิตัง เทวะมะนุสสานัง
เป็นประโยชน์แก่เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย     
พุทธะเตเชนะ โสตถินา
ด้วยเดชแห่งพระพุทธเจ้า


นัสสันตุปัททะวา สัพเพ
ขอสรรพอุปัทวะทั้งหลายจงพินาศไป
ทุกขา วูปะสะเมนตุ เต
ขอทุกข์ทั้งหลายของท่านจงสงบไปโดยสวัสดี




ตั้งจิตระลึกบูชาถึงคุณของพระธรรม เป็น ธัมมานุสสติ
แล้วระลึกว่า เรานั่งอยู่ในส่วนข้างหนึ่งอันควรแล้วพระพุทธเจ้านั้นตรัสเทสนาธรรมแก่เรา
(ให้ระลึกถึงพระธรรมบทใด พระสูตรใด พระปริตรคาถาใดๆที่เราฟังหรือสวดแล้วสบายกายใจ
ที่เรานำมาปฏิบัติแล้วให้ผลออกจากทุกข์ได้จริง)
แล้วเรากราบลงน้อมรับในธรรมอันประเสริฐ อันเป็นเครื่องออกจากทุกข์
ที่พระพุทธเจ้าตรัสสอนมาดีแล้ว จากนั้นสวดพระคาถาดังนี้


สักกัตตะวา ธัมมะระตะนัง
เพราะทำความเคารพพระธรรมรัตนะ
โอสะถัง อุตตะมัง วะรัง
อันเป็นดั่งโอสถอันอุดมประเสริฐ


ปะริฬาหูปะสะมะนัง
เป็นเครื่องระงับความกระวนกระวาย       
ธัมมะเตเชนะ โสตถินา
ด้วยเดชแห่งพระธรรมรัตนะ


นัสสันตุปัททะวา สัพเพ
ขอสรรพอุปัทวะทั้งหลายจงพินาศไป
ทุกขา วูปะสะเมนตุ เต
ขอทุกข์ทั้งหลายของท่านจงสงบไปโดยสวัสดี


สักกัตตะวา ธัมมะระตะนัง
เพราะทำความเคารพพระธรรมรัตนะ
โอสะถัง อุตตะมัง วะรัง
อันเป็นดั่งโอสถอันอุดมประเสริฐ


ปะริฬาหูปะสะมะนัง
เป็นเครื่องระงับความกระวนกระวาย
ธัมมะเตเชนะ โสตถินา
ด้วยเดชแห่งพระธรรมรัตนะ


นัสสันตุปัททะวา สัพเพ
ขอสรรพอุปัทวะทั้งหลายจงินาศไป
ภะยา วูปะสะเมนตุ เต
ขอภัยทั้งหลายของท่านจงสงบไปโดยสวัสดี




ตั้งจิตระลึกบูชาถึงคุณของพระสงฆ์สาวกของพระพุทธเจ้า
ผู้เป็นพระอรหันต์ และ พระอริยะเจ้าทั้งหลาย ครูบาอาจารย์ทั้งหลาย
ผู้ได้ปฏิบัติดี ปฏิบัติชอบ ปฏิบัติตรงแล้ว
แลได้นำพระธรรมคำสอนของพระพุทธเจ้ามาเผยแพร่ให้เราได้รู้ตาม เป็น สังฆานุสสติ
แล้วสวดพระคาถาดังนี้


สักกัตตะวา สังฆะระตะนัง
เพราะทำความเคารพพระสงฆรัตนะ
โอสะถัง อุตตะมัง วะรัง
อันเป็นดั่งโอสถอันอุดมประเสริฐ


อาหุเนยยัง ปาหุเนยยัง
เป็นผู้ควรแก่สักการะที่เขานำมาบูชา
เป็นผู้ควรแก่สักการะที่เขาจัดไว้ต้อนรับ
สังฆะเตเชนะ โสตถินา
ด้วยเดชแห่งพระสงฆ์


นัสสันตุปัททะวา สัพเพ
ขอสรรพอุปัทวะทั้งหลายจงพินาศไป
โรคา วูปะสะเมนตุ เต
ขอโรคทั้งหลายของท่านจงสงบไปโดยสวัสดี




บทสวดพระคาถานี้ใช้เสกยาสมุนไพรกินหายชะงัดดีนักแล
มีความเชื่อว่า..แม้ท่านหมอชีวกท่านก็ใช้พระคาถานี้เสกเมื่อปรุงยาสมุนไพร





« แก้ไขครั้งสุดท้าย: พฤศจิกายน 03, 2014, 10:24:54 AM โดย เกียรติคุณ » บันทึกการเข้า
เกียรติคุณ
ผู้ปฏิบัติธรรม
*****

พลังความดี : 65


เพศ: ชาย
อายุ: 46
กระทู้: 958
สมาชิก ID: 841


« ตอบ #18 เมื่อ: พฤศจิกายน 02, 2014, 03:22:06 PM »

Permalink: สวดมนต์ เพื่อให้ถึงกรรมฐาน ๔ (พระปริตร)

อาฏานาฏิยปริตร # ๘ สามัญญานุโมทนา คาถา
                                                      .



สัพพีติโย วิวัชชันตุ..........
ความจัญไรทั้งปวงจงบำราศไป
สัพพะโรโค วินัสสะตุ..........
โรคทั้งปวง(ของท่าน)จงหาย
มา เต ภะวัตวันตะราโย..........    
อันตรายอย่ามีแก่ท่าน
สุขี ทีฆายุโก ภะวะ..........
ท่านจงเป็นผู้มีความสุขมีอายุยืน

สัพพีติโย วิวัชชันตุ..........
ความจัญไรทั้งปวงจงบำราศไป
สัพพะโรโค วินัสสะตุ..........
โรคทั้งปวง(ของท่าน)จงหาย
มา เต ภะวัตวันตะราโย..........    
อันตรายอย่ามีแก่ท่าน
สุขี ทีฆายุโก ภะวะ..........
ท่านจงเป็นผู้มีความสุขมีอายุยืน

สัพพีติโย วิวัชชันตุ..........
ความจัญไรทั้งปวงจงบำราศไป

สัพพะโรโค วินัสสะตุ..........
โรคทั้งปวง(ของท่าน)จงหาย

มา เต ภะวัตวันตะราโย..........
อันตรายอย่ามีแก่ท่าน

สุขี ทีฆายุโก ภะวะ ฯ..........
ท่านจงเป็นผู้มีความสุขมีอายุยืน

อะภิวาทะนะสีลิสสะ..........นิจจัง วุฑฒาปะจายิโน
จัตตาโร ธัมมา วัฑฒันติ......อายุ วัณโณ สุขัง พะลัง ฯ
ธรรมสี่ประการ คือ อายุ วรรณะ สุขะ พละ ย่อมเจริญแก่
ผู้มีปรกติไหว้กราบ,มีปรกติอ่อนน้อม (ต่อผู้ใหญ่) เป็นนิตย์ ฯ




« แก้ไขครั้งสุดท้าย: พฤศจิกายน 03, 2014, 04:20:10 PM โดย เกียรติคุณ » บันทึกการเข้า
เกียรติคุณ
ผู้ปฏิบัติธรรม
*****

พลังความดี : 65


เพศ: ชาย
อายุ: 46
กระทู้: 958
สมาชิก ID: 841


« ตอบ #19 เมื่อ: พฤศจิกายน 02, 2014, 03:39:35 PM »

Permalink: สวดมนต์ เพื่อให้ถึงกรรมฐาน ๔ (พระปริตร)
อาฏานาฏิยะสุตตะปาโฐ (ภาณยักษ์)




เอวัมเม สุตัง ฯ เอกัง สะมะยัง ภะคะวา ราชะคะเห

วิหะระติ คิชฌะกูเฏ ปัพพะเต ฯ อะถะโข จัตตาโร มะหาราชา

มะหะติยา จะ ยักขะเสนายะ มะหะติยา จะ คันธัพพะเสนายะ

มะหะติยา จะ กุมภัณฑะเสนายะ มะหะติยา จะ นาคะเสนายะ

จะตุททิสัง รักขัง ฐะเปต๎วา จะตุททิสัง คุมพัง ฐะเปต๎วา

จะตุททิสัง โอวะระณัง ฐะเปต๎วา อะภิกกันตายะ รัตติยา

อะภิกกันตะวัณณา เกวะละกัปปัง คิชฌะกูฏัง โอภาเสต๎วา

เยนะ ภะคะวา เตนุปะสังกะมิงสุ อุปะสังกะมิต๎วา ภะคะวันตัง

อะภิวาเทต๎วา เอกะมันตัง นิสีทิงสุ ฯ เตปิ โข ยักขา อัปเปกัจเจ

ภะคะวันตัง อะภิวาเทต๎วา เอกะมันตัง นิสีทิงสุ อัปเปกัจเจ

ภะคะวะตา สัทธิง สัมโมทิงสุ สัมโมทะนียัง กะถัง สาราณียัง

วีติสาเรต๎วา เอกะมันตัง นิสีทิงสุ อัปเปกัจเจ เยนะ ภะคะวา

เตนัญชะลิมปะณาเมต๎วา เอกะมันตัง นิสีทิงสุ อัปเปกัจเจ

นามะโคตตัง สาเวต๎วา เอกะมันตัง นิสีทิงสุ อัปเปกัจเจ

ตุณ๎หีภูตา เอกะมันตัง นิสีทิงสุ ฯ เอกะมันตัง นิสินโน โข

เวสสะวัณโณ มะหาราชา ภะคะวันตัง เอตะทะโวจะ สันติ หิ

ภันเต อุฬารา ยักขา ภะคะวะโต อัปปะสันนา สันติ หิ ภันเต

อุฬารา ยักขา ภะคะวะโต ปะสันนา สันติ หิ ภันเต มัชฌิมา

ยักขา ภะคะวะโต อัปปะสันนา สันติ หิ ภันเต มัชฌิมา ยักขา

ภะคะวะโต ปะสันนา สันติ หิ ภันเต นีจา ยักขา ภะคะวะโต

อัปปะสันนา สันติ หิ ภันเต นีจา ยักขา ภะคะวะโต ปะสันนา

เยภุยเยนะ โข ปะนะ ภันเต ยักขา อัปปะสันนาเยวะ ภะคะวะโต ฯ

ตัง กิสสะ เหตุ ฯ ภะคะวะตา หิ ภันเต ปาณาติปาตา เวระมะณิยา

ธัมมัง เทเสติ อะทินนาทานา เวระมะณิยา ธัมมัง เทเสติ กาเมสุ

มิจฉาจารา เวระมะณิยา ธัมมัง เทเสติ มุสาวาทา เวระมะณิยา

ธัมมัง เทเสติ สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณิยา

ธัมมัง เทเสติ เยภุยเยนะ โข ปะนะ ภันเต ยักขา อัปปะฏิ-

วิระตาเยวะ ปาณาติปาตา อัปปะฏิวิระตา อะทินนาทานา

อัปปะฏิวิระตา กาเมสุ มิจฉาจารา อัปปะฏิวิระตา มุสาวาทา

อัปปะฏิวิระตา สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เตสันตัง โหติ

อัปปิยัง อะมะนาปัง สันติ หิ ภันเต ภะคะวะโต สาวะกา

อะรัญเญ วะนะปัตถานิ ปันตานิ เสนาสะนานิ ปะฏิเสวันติ

อัปปะสัททานิ อัปปะนิคโฆสานิ วิชะนะวาตานิ มะนุสสะราหะ-

เสยยะกานิ ปะฏิสัลลานะสารูปานิ ตัตถะ สันติ อุฬารา ยักขา

นิวาสิโน เย อิมัส๎มิง ภะคะวะโต ปาวะจะเน อัปปะสันนา

เตสัมปะสาทายะ อุคคัณหาตุ ภันเต ภะคะวา อาฏานาฏิยัง รักขัง

ภิกขูนัง ภิกขุนีนัง อุปาสะกานัง อุปาสิกานัง คุตติยา รักขายะ

อะวิหิงสายะ ผาสุวิหารายาติ ฯ อะธิวาเสสิ ภะคะวา ตุณ๎หีภาเวนะ ฯ

อะถะโข เวสสะวัณโณ มะหาราชา ภะคะวะโต อะธิวาสะนัง

วิทิต๎วา ตายัง เวลายัง อิมัง อาฏานาฏิยัง รักขัง อะภาสิ

วิปัสสิสสะ นะมัตถุ จักขุมันตัสสะ สิรีมะโต

สิขิสสะปิ นะมัตถุ สัพพะภูตานุกัมปิโน

เวสสะภุสสะ นะมัตถุ นะหาตะกัสสะ ตะปัสสิโน

นะมัตถุ กะกุสันธัสสะ มาระเสนัปปะมัททิโน

โกนาคะมะนัสสะ นะมัตถุ พ๎ราห๎มะณัสสะ วุสีมะโต

กัสสะปัสสะ นะมัตถุ วิปปะมุตตัสสะ สัพพะธิ

อังคีระสัสสะ นะมัตถุ สัก๎ยะปุตตัสสะ สิรีมะโต

โย อิมัง ธัมมะทะเทเสสิ สัพพะทุกขาปะนูปะทัง

เยจาปิ นิพพุตา โลเก ยะถาภูตัง วิปัสสิสุง

เต ชะนา อะปิสุณา มะหันตา วีตะสาระทา

หิตัง เทวะมะนุสสานัง ยัง นะมัสสันติ โคตะมัง

วิชชาจะระณะสัมปันนัง มะหันตัง วีตะสาระทัง ฯ

ยะโต อุคคัจฉะติ สุริโย อาทิจโจ มัณฑะลี มะหา

ยัสสะ จุคคัจฉะมานัสสะ สังวะรีปิ นิรุชฌะติ

ยัสสะ จุคคะเต สุริเย ทิวะโสติ ปะวุจจะติ

ระหะโทปิ ตัตถะ คัมภีโร สะมุทโท สะริโตทะโก

เอวันตัง ตัตถะ ชานันติ สะมุทโท สะริโตทะโก

อิโต สา ปุริมา ทิสา อิติ นัง อาจิกขะตี ชะโน

ยัง ทิสัง อะภิปาเลติ มะหาราชา ยะสัสสิ โส

คันธัพพานัง อาธิปะติ ธะตะรัฏโฐติ นามะโส

ระมะตี นัจจะคีเตหิ คันธัพเพหิ ปุรักขะโต

ปุตตาปิ ตัสสะ พะหะโว เอกะนามาติ เม สุตัง

อะสีติ ทะสะ เอโก จะ อินทะมานา มะหัพพะลา

เต จาปิ พุทธัง ทิส๎วานะ พุทธัง อาทิจจะพันธุนัง

ทูระโตวะ นะมัสสันติ มะหันตัง วีตะสาระทัง

นะโม เต ปุริสาชัญญะ นะโม เต ปุริสุตตะมะ

กุสะเลนะ สะเมกขะสิ อะมะนุสสาปิ ตัง วันทันติ

สุตัง เนตัง อะภิณหะโส ตัส๎มา เอวัง วะเทมะ เส

ชินัง วันทะถะ โคตะมัง ชินัง วันทามะ โคตะมัง

วิชชาจะระณะสัมปันนัง พุทธัง วันทามะ โคตะมัง ฯ

เยนะ เปตา ปะวุจจันติ ปิสุณา ปิฏฐิมังสิกา

ปาณาติปาติโน ลุททา โจรา เนกะติกา ชะนา

อิโต สา ทักขิณา ทิสา อิติ นัง อาจิกขะตี ชะโน

ยัง ทิสัง อะภิปาเลติ มะหาราชา ยะสัสสิ โส

กุมภัณฑานัง อาธิปะติ วิรุฬโห อิติ นามะโส

ระมะตี นัจจะคีเตหิ กุมภัณเฑหิ ปุรักขะโต

ปุตตาปิ ตัสสะ พะหะโว เอกะนามาติ เม สุตัง

อะสีติ ทะสะ เอโก จะ อินทะมานา มะหัพพะลา

เต จาปิ พุทธัง ทิส๎วานะ พุทธัง อาทิจจะพันธุนัง

ทูระโต วะ นะมัสสันติ มะหันตัง วีตะสาระทัง

นะโม เต ปุริสาชัญญะ นะโม เต ปุริสุตตะมะ

กุสะเลนะ สะเมกขะสิ อะมะนุสสาปิ ตัง วันทันติ

สุตัง เนตัง อะภิณหะโส ตัส๎มา เอวัง วะเทมะ เส

ชินัง วันทะถะ โคตะมัง ชินัง วันทามะ โคตะมัง ฯ

วิชชาจะระณะสัมปันนัง พุทธัง วันทามะ โคตะมัง ฯ

ยัตถะ โจคคัจฉะติ สุริโย อาทิจโจ มัณฑะลี มะหา

ยัสสะ โจคคัจฉะมานัสสะ ทิวะโสปิ นิรุชฌะติ

ยัสสะ โจคคะเต สุริเย สังวะรีติ ปะวุจจะติ

ระหะโทปิ ตัตถะ คัมภีโร สะมุทโท สะริโตทะโก

เอวันตัง ตัตถะ ชานันติ สะมุทโท สะริโตทะโก

อิโต สา ปัจฉิมา ทิสา อิติ นัง อาจิกขะตี ชะโน

ยัง ทิสัง อะภิปาเลติ มะหาราชา ยะสัสสิ โส

นาคานัง อาธิปะติ วิรูปักโขติ นามะโส

ระมะตี นัจจะคีเตหิ นาเคหิปิ ปุรักขะโต

ปุตตาปิ ตัสสะ พะหะโว เอกะนามาติ เม สุตัง

อะสีติ ทะสะ เอโก จะ อินทะนามา มะหัพพะลา

เต จาปิ พุทธัง ทิส๎วานะ พุทธัง อาทิจจะพันธุนัง

ทูระโต วะ นะมัสสันติ มะหันตัง วีตะสาระทัง

นะโม เต ปุริสาชัญญะ นะโม เต ปุริสุตตะมะ

กุสะเลนะ สะเมกขะสิ อะมะนุสสาปิ ตัง วันทันติ

สุตัง เนตัง อะภิณหะโส ตัส๎มา เอวัง วะเทมะ เส

ชินัง วันทะถะ โคตะมัง ชินัง วันทามะ โคตะมัง ฯ

วิชชาจะระณะสัมปันนัง พุทธัง วันทามะ โคตะมัง ฯ

เยนะ อุตตะระกุรู รัมมา มะหาเนรุ สุทัสสะโน

มะนุสสา ตัตถะ ชายันติ อะมะมา อะปะริคคะหา

นะ เต พีชัง ปะวัปปันติ นะปิ นียันติ นังคะลา

อะกัฏฐะปากิมัง สาลิง ปะริภุญชันติ มานุสา

อะกะณัง อะถุสัง สุทธัง สุคันธัง ตัณฑุลัปผะลัง

ตุณฑิกิเร ปะจิต๎วานะ ตะโต ภัญชันติ โภชะนัง ฯ

คาวิง เอกะขุรัง กัต๎วา อะนุยันติ ทิโสทิสัง

ปะสุง เอกะขุรัง กัต๎วา อะนุยันติ ทิโสทิสัง

อิตถิง วาหะนัง กัต๎วา อะนุยันติ ทิโสทิสัง

ปุริสัง วาหะนัง กัต๎วา อะนุยันติ ทิโสทิสัง

กุมาริง วาหะนัง กัต๎วา อะนุยันติ ทิโสทิสัง

กุมารัง วาหะนัง กัต๎วา อะนุยันติ ทิโสทิสัง

เต ยาเน อะภิรูหิต๎วา สัพพา ทิสา อะนุปะริยันติ

ปะจะรา ตัสสะ ราชิโน ฯ

หัตถิยานัง อัสสะยานัง ทิพพัง ยานัง อุปัฏฐิตัง

ปาสาทา สิวิกา เจวะ มะหาราชัสสะ ยะสัสสิโน

ตัสสะ จะ นะคะรา อะหุ อันตะลิกเขสุ มาปิตา

อาฏานาฏา กุสินาฏา ปะระกุสินาฏา

นาฏะปะริยา ปะระกุสิตะนาฏา

อุตตะเรนะ กะปีวันโต ชะโนฆะมะปะเรนะ จะ

นะวะนะวะติโย อัมพะระอัมพะระวะติโย

อาฬะกะมัณฑา นามะ ราชะธานี

กุเวรัสสะ โข ปะนะ มาริสะ มะหาราชัสสะ

วิสาณา นามะ ราชะธานี

ตัส๎มา กุเวโร มะหาราชา เวสสะวัณโณติ ปะวุจจะติ

ปัจเจสันโต ปะกาเสนติ ตะโตลา ตัตตะลา ตะโตตะลา

โอชะสี เตชะสี ตะโตชะสี สุโรราชา อะริฏโฐ เนมิ

ระหะโทปิ ตัตถะ ธะระณี นามะ ยะโต เมฆา ปะวัสสันติ

วัสสา ยะโต ปะตายันติ

สะภาปิ ตัตถะ ภะคะละวะตี นามะ ยัตถะ ยักขา ปะยิรุปาสันติ

ตัตถะ นิจจะผะลา รุกขา นานาทิชะคะณายุตา

มะยุระโกญจาภิรุทา โกกิลาภิหิ วัคคุภิ

ชีวัญชีวะกะสัทเทตถะ อะโถ โอฏฐะวะจิตตะกา

กุกกุฏฐะกา กุฬีระกา วะเน โปกขะระสาตะกา

สุกะสาลิกะสัทเทตถะ ทัณฑะมาณะวะกานิ จะ

โสภะติ สัพพะกาลัง สา กุเวระนะฬินี สะทา

อิโต สา อุตตะรา ทิสา อิติ นัง อาจิกขะตี ชะโน

ยัง ทิสัง อะภิปาเลติ มะหาราชา ยะสัสสิ โส

ยักขานัง อาธิปะติ กุเวโร อิติ นามะโส

ระมะตี นัจจะคีเตหิ ยักเขหิ ปุรักขะโต

ปุตตาปิ ตัสสะ พะหะโว เอกะนามาติ เม สุตัง

อะสีติ ทะสะ เอโก จะ อินทะมานา มะหัพพะลา

เต จาปิ พุทธัง ทิส๎วานะ พุทธัง อาทิจจะพันธุนัง

ทูระโต วะ นะมัสสันติ มะหันตัง วีตะสาระทัง

นะโม เต ปุริสาชัญญะ นะโม เต ปุริสุตตะมะ

กุสะเลนะ สะเมกขะสิ อะมะนุสสาปิ ตัง วันทันติ

สุตัง เนตัง อะภิณหะโส ตัส๎มา เอวัง วะเทมะ เส

ชินัง วันทะถะ โคตะมัง ชินัง วันทามะ โคตะมัง

วิชชาจะระณะสัมปันนัง พุทธัง วันทามะ โคตะมันติ ฯ

อะยัง โข สา มาริสะ อาฏานาฏิยา รักขา ภิกขูนัง

ภิกขุนีนัง อุปาสะกานัง อุปาสิกานัง คุตติยา รักขายะ อะวิหิงสายะ

ผาสุวิหารายาติ ฯ ยัสสะ กัสสะจิ มาริสะ ภิกขุสสะ วา ภิกขุนิยา

วา อุปาสะกัสสะวา อุปาสิกายะ วา อะยัง อาฏานาฏิยา รักขา

สุคคะหิตา ภะวิสสะติ สะมัตตา ปะริยาปุตา ตัญเจ อะมะนุสโส

ยักโข วา ยักขิณี วา ยักขะโปตะโก วา ยักขะโปติกา วา

ยักขะมะหามัตโต วา ยักขะปาริสัชโช วา ยักขะปะจาโร วา

คันธัพโพ วา คันธัพพี วา คันธัพพะโปตะโก วา คันธัพพะโปติกา

วา คันธัพพะมะหามัตโต วา คันธัพพะปาริสัชโช วา คันธัพพะปะจาโร

วา กุมภัณโฑ วา กุมภัณฑี วา กุมภัณฑะโปตะโก วา กุมภัณ-

ฑะโปติกา วา กุมภัณฑะมะหามัตโต วา กุมภัณฑะปาริสัชโช วา

กุมภัณฑะปะจาโร วา นาโค วา นาคินี วา นาคะโปตะโก วา

นาคะโปติกา วา นาคะมะหามัตโต วา นาคะปาริสัชโช วา

นาคะปะจาโร วา ปะทุฏฐะจิตโต ภิกขุง วา ภิกขุนิง วา อุปาสะกัง

วา อุปาสิกัง วา คัจฉันตัง วา อะนุคัจเฉยยะ ฐิตัง วา อุปะติฏเฐยยะ

นิสินนัง วา อุปะนิสีเทยยะ นิปันนัง วา อุปะนิปัชเชยยะ ฯ นะ

เม โส มาริสะ อะมะนุสโส ละเภยยะ คาเมสุ วา นิคะเมสุ วา

สักการัง วา คะรุการัง วา นะ เม โส มาริสะ อะมะนุสโส

ละเภยยะ อาฬะกะมัณฑายะ นามะ ราชะธานิยา วัตถุง วา

วาสัง วา นะ เม โส มาริสะ อะมะนุสโส ละเภยยะ ยักขานัง

สะมิติง คันตุง อะปิสสุนัง มาริสะ อะมะนุสสา อะนะวัยหัมปิ

นัง กะเรยยุง อะวิวัยหัง อะปิสสุนัง มาริสะ อะมะนุสสา

อัตตาหิปิ ปะริปุณณาหิ ปะริภาสาหิ ปะริภาเสยยุง อะปิสสุนัง

มาริสะ อะมะนุสสา ริตตัมปิ ปัตตัง สีเส นิกกุชเชยยุง อะปิสสุนัง

มาริสะ อะมะนุสสา สัตตะธาปิสสะ มุทธัง ผาเลยยุง สันติ

หิ มาริสะ อะมะนุสสา จัณฑา รุทธา ระภะสา เต เนวะ

มะหาราชานัง อาทิยันติ นะ มะหาราชานัง ปุริสะกานัง อาทิยันติ

นะ มะหาราชานัง ปุริสะกานัง ปุริสะกานัง อาทิยันติ เต โข เต

มาริสะ อะมะนุสสา มะหาราชานัง อะวะรุทธา นามะ วุจจันติ

เสยยะถาปิ มาริสะ รัญโญ มาคะธัสสะ วิชิเต โจรา เต เนวะ

รัญโญ มาคะธัสสะ อาทิยันติ นะ รัญโญ มาคะธัสสะ ปุริสะกานัง

อาทิยันติ นะ รัญโญ มาคะธัสสะ ปุริสะกานัง ปุริสะกานัง

อาทิยันติ เต โข เต มาริสะ มะหาโจรา รัญโญ มาคะธัสสะ

อะวะรุทธา นามะ วุจจันติ เอวะเมวะ โข มาริสะ สันติ หิ

อะมะนุสสา จัณฑา รุทธา ระภะสา เต เนวะ มะหาราชานัง

อาทิยันติ นะ มะหาราชานัง ปุริสะกานัง อาทิยันติ นะ มะหาราชานัง

ปุริสะกานัง ปุริสะกานัง อาทิยันติ เต โข เต มาริสะ อะมะนุสสา

มะหาราชานัง อะวะรุทธา นามะ วุจจันติ โย หิ โกจิ มาริสะ

อะมะนุสโส ยักโข วา ยักขินี วา ยักขะโปตะโก วา ยักขะโปติกา

วา ยักขะมะหามัตโต วา ยักขะปาริสัชโช วา ยักขะปะจาโร วา

คันธัพโพ วา คันธัพพี วา คันธัพพะโปตะโก วา คันธัพพะโปติกา

วา คันธัพพะมะหามัตโต วา คันธัพพะปาริสัชโช วา คันธัพพะปะจาโร

วา กุมภัณโฑ วา กุมภัณฑี วา กุมภัณฑะโปตะโก วา กุมภัณฑะโปติกา

วา กุมภัณฑะมะหามัตโต วา กุมภัณฑะปาริสัชโช วา กุมภัณฑะ-

ปะจาโร วา นาโค วา นาคินี วา นาคะโปตะโก วา นาคะโปติกา

วา นาคะมะหามัตโต วา นาคะปาริสัชโช วา นาคะปะจาโร วา

ปะทุฏฐะจิตโต ภิกขุง วา ภิกขุนิง วา อุปาสะกัง วา อุปาสิกัง

วา คัจฉันตัง วา อะนุคัจเฉยยะ ฐิตัง วา อุปะติฏเฐยยะ นิสินนัง

วา อุปะนิสีเทยยะ นิปันนัง วา อุปะนิปัชเชยยะ อิเมสัง

ยักขานัง มะหายักขานัง เสนาปะตีนัง มะหาเสนาปะตีนัง

อุชฌาเปตัพพัง วิกกันทิตัพพัง วิระวิตัพพัง อะยัง ยักโข

คัณหาติ อะยัง ยักโข อาวีสะติ อะยัง ยักโข เหเฐติ อะยัง

ยักโข วิเหเฐติ อะยัง ยักโข หิงสะติ อะยัง ยักโข วิหิงสะติ

อะยัง ยักโข นะ มุญจะตีติ ฯ กะตะเมสัง ยักขานัง มะหายักขานัง

เสนาปะตีนัง มะหาเสนาปะตีนัง ฯ

อินโท โสโม วะรุโณ จะ ภารัท๎วาโช ปะชาปะติ

จันทะโน กามะเสฏโฐ จะ กินนุฆัณฑุ นิฆัณฑุ จะ

ปะนาโท โอปะมัญโญ จะ เทวะสูโต จะ มาตะลิ

จิตตะเสโน จะ คันธัพโพ นะโฬราชา ชะโนสะโภ

สาตาคิโร เหมะวะโต ปุณณะโก กะระติโย คุโฬ

สิวะโก มุจจะลินโท จะ เวสสามิตโต ยุคันธะโร

โคปาโล สุปปะเคโธ จะ หิริเนตติ จะ มันทิโย

ปัญจาละจันโท อาฬะวะโก ปะชุนโน

สุมะโน สุมุโข ทะธิมุโข

มะณิ มาณิจะโร ทีโฆ อะโถ เสริสะโก สะหะ ฯ

อิเมสัง ยักขานัง มะหายักขานัง เสนาปะนีตัง มะหาเสนา-

ปะตีนัง อุชฌาเปตัพพัง วิกกันทิตัพพัง วิระวิตัพพัง อะยัง ยักโข

คัณหาติ อะยัง ยักโข อาวีสะติ อะยัง ยักโข เหเฐติ อะยัง ยักโข

วิเหเฐติ อะยัง ยักโข หิงสะติ อะยัง ยักโข วิหิงสะติ อะยัง

ยักโข นะ มุญจะตีติ ฯ อะยัง โข สา มาริสะ อาฏานาฏิยา

รักขา ภิกขูนัง ภิกขุนีนัง อุปาสะกานัง อุปาสิกานัง คุตติยา

รักขายะ อะวิหิงสายะ ผาสุวิหารายาติ ฯ หันทะ จะทานิ มะยัง

มาริสะ คัจฉามะ พะหุกิจจา มะยัง พะหุกะระณียาติ ฯ ยัสสะทานิ

ตุม๎เห มะหาราชาโน กาลัง มัญญะถาติ ฯ

อะถะโข จัตตาโร มะหาราชา อุฏฐายาสะนา ภะคะวันตัง

อะภิวาเทตะวา ปะทักขิณัง กัต๎วา ตัตเถวันตะระธายิงสุ ฯ เตปิ

โข ยักขา อุฏฐายาสะนา อัปเปกัจเจ ภะคะวันตัง อะภิวาเทตะวา

ปะทักขิณัง กัต๎วา ตัตเถวันตะระธายิงสุ อัปเปกัจเจ ภะคะวะตา

สัทธิง สัมโมทิงสุ สัมโทะนียัง กะถัง สาราณียัง วีติสาเรตะวา

ตัตเถวันตะระธายิงสุ อัปเปกัจเจ เยนะ ภะคะวา เตนัญชะลิมปะ-

ณาเมตะวา ตัตเถวันตะระธายิงสุ อัปเปกัจเจ นามะโคตตัง สาเวตะวา

ตัตเถวันตะระธายิงสุ อัปเปกัจเจ ตุณ๎หีภูตา ตัตเถวันตะระธายิงสุ ฯ



http://www.watpamafai.org/index.php?mo=3&art=304602
บันทึกการเข้า
เกียรติคุณ
ผู้ปฏิบัติธรรม
*****

พลังความดี : 65


เพศ: ชาย
อายุ: 46
กระทู้: 958
สมาชิก ID: 841


« ตอบ #20 เมื่อ: พฤศจิกายน 02, 2014, 03:39:42 PM »

Permalink: สวดมนต์ เพื่อให้ถึงกรรมฐาน ๔ (พระปริตร)
อาฏานาฏิยะสุตตะปาโฐ (ภาณยักษ์)




เอวัมเม สุตัง ฯ เอกัง สะมะยัง ภะคะวา ราชะคะเห

วิหะระติ คิชฌะกูเฏ ปัพพะเต ฯ อะถะโข จัตตาโร มะหาราชา

มะหะติยา จะ ยักขะเสนายะ มะหะติยา จะ คันธัพพะเสนายะ

มะหะติยา จะ กุมภัณฑะเสนายะ มะหะติยา จะ นาคะเสนายะ

จะตุททิสัง รักขัง ฐะเปต๎วา จะตุททิสัง คุมพัง ฐะเปต๎วา

จะตุททิสัง โอวะระณัง ฐะเปต๎วา อะภิกกันตายะ รัตติยา

อะภิกกันตะวัณณา เกวะละกัปปัง คิชฌะกูฏัง โอภาเสต๎วา

เยนะ ภะคะวา เตนุปะสังกะมิงสุ อุปะสังกะมิต๎วา ภะคะวันตัง

อะภิวาเทต๎วา เอกะมันตัง นิสีทิงสุ ฯ เตปิ โข ยักขา อัปเปกัจเจ

ภะคะวันตัง อะภิวาเทต๎วา เอกะมันตัง นิสีทิงสุ อัปเปกัจเจ

ภะคะวะตา สัทธิง สัมโมทิงสุ สัมโมทะนียัง กะถัง สาราณียัง

วีติสาเรต๎วา เอกะมันตัง นิสีทิงสุ อัปเปกัจเจ เยนะ ภะคะวา

เตนัญชะลิมปะณาเมต๎วา เอกะมันตัง นิสีทิงสุ อัปเปกัจเจ

นามะโคตตัง สาเวต๎วา เอกะมันตัง นิสีทิงสุ อัปเปกัจเจ

ตุณ๎หีภูตา เอกะมันตัง นิสีทิงสุ ฯ เอกะมันตัง นิสินโน โข

เวสสะวัณโณ มะหาราชา ภะคะวันตัง เอตะทะโวจะ สันติ หิ

ภันเต อุฬารา ยักขา ภะคะวะโต อัปปะสันนา สันติ หิ ภันเต

อุฬารา ยักขา ภะคะวะโต ปะสันนา สันติ หิ ภันเต มัชฌิมา

ยักขา ภะคะวะโต อัปปะสันนา สันติ หิ ภันเต มัชฌิมา ยักขา

ภะคะวะโต ปะสันนา สันติ หิ ภันเต นีจา ยักขา ภะคะวะโต

อัปปะสันนา สันติ หิ ภันเต นีจา ยักขา ภะคะวะโต ปะสันนา

เยภุยเยนะ โข ปะนะ ภันเต ยักขา อัปปะสันนาเยวะ ภะคะวะโต ฯ

ตัง กิสสะ เหตุ ฯ ภะคะวะตา หิ ภันเต ปาณาติปาตา เวระมะณิยา

ธัมมัง เทเสติ อะทินนาทานา เวระมะณิยา ธัมมัง เทเสติ กาเมสุ

มิจฉาจารา เวระมะณิยา ธัมมัง เทเสติ มุสาวาทา เวระมะณิยา

ธัมมัง เทเสติ สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณิยา

ธัมมัง เทเสติ เยภุยเยนะ โข ปะนะ ภันเต ยักขา อัปปะฏิ-

วิระตาเยวะ ปาณาติปาตา อัปปะฏิวิระตา อะทินนาทานา

อัปปะฏิวิระตา กาเมสุ มิจฉาจารา อัปปะฏิวิระตา มุสาวาทา

อัปปะฏิวิระตา สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เตสันตัง โหติ

อัปปิยัง อะมะนาปัง สันติ หิ ภันเต ภะคะวะโต สาวะกา

อะรัญเญ วะนะปัตถานิ ปันตานิ เสนาสะนานิ ปะฏิเสวันติ

อัปปะสัททานิ อัปปะนิคโฆสานิ วิชะนะวาตานิ มะนุสสะราหะ-

เสยยะกานิ ปะฏิสัลลานะสารูปานิ ตัตถะ สันติ อุฬารา ยักขา

นิวาสิโน เย อิมัส๎มิง ภะคะวะโต ปาวะจะเน อัปปะสันนา

เตสัมปะสาทายะ อุคคัณหาตุ ภันเต ภะคะวา อาฏานาฏิยัง รักขัง

ภิกขูนัง ภิกขุนีนัง อุปาสะกานัง อุปาสิกานัง คุตติยา รักขายะ

อะวิหิงสายะ ผาสุวิหารายาติ ฯ อะธิวาเสสิ ภะคะวา ตุณ๎หีภาเวนะ ฯ

อะถะโข เวสสะวัณโณ มะหาราชา ภะคะวะโต อะธิวาสะนัง

วิทิต๎วา ตายัง เวลายัง อิมัง อาฏานาฏิยัง รักขัง อะภาสิ

วิปัสสิสสะ นะมัตถุ จักขุมันตัสสะ สิรีมะโต

สิขิสสะปิ นะมัตถุ สัพพะภูตานุกัมปิโน

เวสสะภุสสะ นะมัตถุ นะหาตะกัสสะ ตะปัสสิโน

นะมัตถุ กะกุสันธัสสะ มาระเสนัปปะมัททิโน

โกนาคะมะนัสสะ นะมัตถุ พ๎ราห๎มะณัสสะ วุสีมะโต

กัสสะปัสสะ นะมัตถุ วิปปะมุตตัสสะ สัพพะธิ

อังคีระสัสสะ นะมัตถุ สัก๎ยะปุตตัสสะ สิรีมะโต

โย อิมัง ธัมมะทะเทเสสิ สัพพะทุกขาปะนูปะทัง

เยจาปิ นิพพุตา โลเก ยะถาภูตัง วิปัสสิสุง

เต ชะนา อะปิสุณา มะหันตา วีตะสาระทา

หิตัง เทวะมะนุสสานัง ยัง นะมัสสันติ โคตะมัง

วิชชาจะระณะสัมปันนัง มะหันตัง วีตะสาระทัง ฯ

ยะโต อุคคัจฉะติ สุริโย อาทิจโจ มัณฑะลี มะหา

ยัสสะ จุคคัจฉะมานัสสะ สังวะรีปิ นิรุชฌะติ

ยัสสะ จุคคะเต สุริเย ทิวะโสติ ปะวุจจะติ

ระหะโทปิ ตัตถะ คัมภีโร สะมุทโท สะริโตทะโก

เอวันตัง ตัตถะ ชานันติ สะมุทโท สะริโตทะโก

อิโต สา ปุริมา ทิสา อิติ นัง อาจิกขะตี ชะโน

ยัง ทิสัง อะภิปาเลติ มะหาราชา ยะสัสสิ โส

คันธัพพานัง อาธิปะติ ธะตะรัฏโฐติ นามะโส

ระมะตี นัจจะคีเตหิ คันธัพเพหิ ปุรักขะโต

ปุตตาปิ ตัสสะ พะหะโว เอกะนามาติ เม สุตัง

อะสีติ ทะสะ เอโก จะ อินทะมานา มะหัพพะลา

เต จาปิ พุทธัง ทิส๎วานะ พุทธัง อาทิจจะพันธุนัง

ทูระโตวะ นะมัสสันติ มะหันตัง วีตะสาระทัง

นะโม เต ปุริสาชัญญะ นะโม เต ปุริสุตตะมะ

กุสะเลนะ สะเมกขะสิ อะมะนุสสาปิ ตัง วันทันติ

สุตัง เนตัง อะภิณหะโส ตัส๎มา เอวัง วะเทมะ เส

ชินัง วันทะถะ โคตะมัง ชินัง วันทามะ โคตะมัง

วิชชาจะระณะสัมปันนัง พุทธัง วันทามะ โคตะมัง ฯ

เยนะ เปตา ปะวุจจันติ ปิสุณา ปิฏฐิมังสิกา

ปาณาติปาติโน ลุททา โจรา เนกะติกา ชะนา

อิโต สา ทักขิณา ทิสา อิติ นัง อาจิกขะตี ชะโน

ยัง ทิสัง อะภิปาเลติ มะหาราชา ยะสัสสิ โส

กุมภัณฑานัง อาธิปะติ วิรุฬโห อิติ นามะโส

ระมะตี นัจจะคีเตหิ กุมภัณเฑหิ ปุรักขะโต

ปุตตาปิ ตัสสะ พะหะโว เอกะนามาติ เม สุตัง

อะสีติ ทะสะ เอโก จะ อินทะมานา มะหัพพะลา

เต จาปิ พุทธัง ทิส๎วานะ พุทธัง อาทิจจะพันธุนัง

ทูระโต วะ นะมัสสันติ มะหันตัง วีตะสาระทัง

นะโม เต ปุริสาชัญญะ นะโม เต ปุริสุตตะมะ

กุสะเลนะ สะเมกขะสิ อะมะนุสสาปิ ตัง วันทันติ

สุตัง เนตัง อะภิณหะโส ตัส๎มา เอวัง วะเทมะ เส

ชินัง วันทะถะ โคตะมัง ชินัง วันทามะ โคตะมัง ฯ

วิชชาจะระณะสัมปันนัง พุทธัง วันทามะ โคตะมัง ฯ

ยัตถะ โจคคัจฉะติ สุริโย อาทิจโจ มัณฑะลี มะหา

ยัสสะ โจคคัจฉะมานัสสะ ทิวะโสปิ นิรุชฌะติ

ยัสสะ โจคคะเต สุริเย สังวะรีติ ปะวุจจะติ

ระหะโทปิ ตัตถะ คัมภีโร สะมุทโท สะริโตทะโก

เอวันตัง ตัตถะ ชานันติ สะมุทโท สะริโตทะโก

อิโต สา ปัจฉิมา ทิสา อิติ นัง อาจิกขะตี ชะโน

ยัง ทิสัง อะภิปาเลติ มะหาราชา ยะสัสสิ โส

นาคานัง อาธิปะติ วิรูปักโขติ นามะโส

ระมะตี นัจจะคีเตหิ นาเคหิปิ ปุรักขะโต

ปุตตาปิ ตัสสะ พะหะโว เอกะนามาติ เม สุตัง

อะสีติ ทะสะ เอโก จะ อินทะนามา มะหัพพะลา

เต จาปิ พุทธัง ทิส๎วานะ พุทธัง อาทิจจะพันธุนัง

ทูระโต วะ นะมัสสันติ มะหันตัง วีตะสาระทัง

นะโม เต ปุริสาชัญญะ นะโม เต ปุริสุตตะมะ

กุสะเลนะ สะเมกขะสิ อะมะนุสสาปิ ตัง วันทันติ

สุตัง เนตัง อะภิณหะโส ตัส๎มา เอวัง วะเทมะ เส

ชินัง วันทะถะ โคตะมัง ชินัง วันทามะ โคตะมัง ฯ

วิชชาจะระณะสัมปันนัง พุทธัง วันทามะ โคตะมัง ฯ

เยนะ อุตตะระกุรู รัมมา มะหาเนรุ สุทัสสะโน

มะนุสสา ตัตถะ ชายันติ อะมะมา อะปะริคคะหา

นะ เต พีชัง ปะวัปปันติ นะปิ นียันติ นังคะลา

อะกัฏฐะปากิมัง สาลิง ปะริภุญชันติ มานุสา

อะกะณัง อะถุสัง สุทธัง สุคันธัง ตัณฑุลัปผะลัง

ตุณฑิกิเร ปะจิต๎วานะ ตะโต ภัญชันติ โภชะนัง ฯ

คาวิง เอกะขุรัง กัต๎วา อะนุยันติ ทิโสทิสัง

ปะสุง เอกะขุรัง กัต๎วา อะนุยันติ ทิโสทิสัง

อิตถิง วาหะนัง กัต๎วา อะนุยันติ ทิโสทิสัง

ปุริสัง วาหะนัง กัต๎วา อะนุยันติ ทิโสทิสัง

กุมาริง วาหะนัง กัต๎วา อะนุยันติ ทิโสทิสัง

กุมารัง วาหะนัง กัต๎วา อะนุยันติ ทิโสทิสัง

เต ยาเน อะภิรูหิต๎วา สัพพา ทิสา อะนุปะริยันติ

ปะจะรา ตัสสะ ราชิโน ฯ

หัตถิยานัง อัสสะยานัง ทิพพัง ยานัง อุปัฏฐิตัง

ปาสาทา สิวิกา เจวะ มะหาราชัสสะ ยะสัสสิโน

ตัสสะ จะ นะคะรา อะหุ อันตะลิกเขสุ มาปิตา

อาฏานาฏา กุสินาฏา ปะระกุสินาฏา

นาฏะปะริยา ปะระกุสิตะนาฏา

อุตตะเรนะ กะปีวันโต ชะโนฆะมะปะเรนะ จะ

นะวะนะวะติโย อัมพะระอัมพะระวะติโย

อาฬะกะมัณฑา นามะ ราชะธานี

กุเวรัสสะ โข ปะนะ มาริสะ มะหาราชัสสะ

วิสาณา นามะ ราชะธานี

ตัส๎มา กุเวโร มะหาราชา เวสสะวัณโณติ ปะวุจจะติ

ปัจเจสันโต ปะกาเสนติ ตะโตลา ตัตตะลา ตะโตตะลา

โอชะสี เตชะสี ตะโตชะสี สุโรราชา อะริฏโฐ เนมิ

ระหะโทปิ ตัตถะ ธะระณี นามะ ยะโต เมฆา ปะวัสสันติ

วัสสา ยะโต ปะตายันติ

สะภาปิ ตัตถะ ภะคะละวะตี นามะ ยัตถะ ยักขา ปะยิรุปาสันติ

ตัตถะ นิจจะผะลา รุกขา นานาทิชะคะณายุตา

มะยุระโกญจาภิรุทา โกกิลาภิหิ วัคคุภิ

ชีวัญชีวะกะสัทเทตถะ อะโถ โอฏฐะวะจิตตะกา

กุกกุฏฐะกา กุฬีระกา วะเน โปกขะระสาตะกา

สุกะสาลิกะสัทเทตถะ ทัณฑะมาณะวะกานิ จะ

โสภะติ สัพพะกาลัง สา กุเวระนะฬินี สะทา

อิโต สา อุตตะรา ทิสา อิติ นัง อาจิกขะตี ชะโน

ยัง ทิสัง อะภิปาเลติ มะหาราชา ยะสัสสิ โส

ยักขานัง อาธิปะติ กุเวโร อิติ นามะโส

ระมะตี นัจจะคีเตหิ ยักเขหิ ปุรักขะโต

ปุตตาปิ ตัสสะ พะหะโว เอกะนามาติ เม สุตัง

อะสีติ ทะสะ เอโก จะ อินทะมานา มะหัพพะลา

เต จาปิ พุทธัง ทิส๎วานะ พุทธัง อาทิจจะพันธุนัง

ทูระโต วะ นะมัสสันติ มะหันตัง วีตะสาระทัง

นะโม เต ปุริสาชัญญะ นะโม เต ปุริสุตตะมะ

กุสะเลนะ สะเมกขะสิ อะมะนุสสาปิ ตัง วันทันติ

สุตัง เนตัง อะภิณหะโส ตัส๎มา เอวัง วะเทมะ เส

ชินัง วันทะถะ โคตะมัง ชินัง วันทามะ โคตะมัง

วิชชาจะระณะสัมปันนัง พุทธัง วันทามะ โคตะมันติ ฯ

อะยัง โข สา มาริสะ อาฏานาฏิยา รักขา ภิกขูนัง

ภิกขุนีนัง อุปาสะกานัง อุปาสิกานัง คุตติยา รักขายะ อะวิหิงสายะ

ผาสุวิหารายาติ ฯ ยัสสะ กัสสะจิ มาริสะ ภิกขุสสะ วา ภิกขุนิยา

วา อุปาสะกัสสะวา อุปาสิกายะ วา อะยัง อาฏานาฏิยา รักขา

สุคคะหิตา ภะวิสสะติ สะมัตตา ปะริยาปุตา ตัญเจ อะมะนุสโส

ยักโข วา ยักขิณี วา ยักขะโปตะโก วา ยักขะโปติกา วา

ยักขะมะหามัตโต วา ยักขะปาริสัชโช วา ยักขะปะจาโร วา

คันธัพโพ วา คันธัพพี วา คันธัพพะโปตะโก วา คันธัพพะโปติกา

วา คันธัพพะมะหามัตโต วา คันธัพพะปาริสัชโช วา คันธัพพะปะจาโร

วา กุมภัณโฑ วา กุมภัณฑี วา กุมภัณฑะโปตะโก วา กุมภัณ-

ฑะโปติกา วา กุมภัณฑะมะหามัตโต วา กุมภัณฑะปาริสัชโช วา

กุมภัณฑะปะจาโร วา นาโค วา นาคินี วา นาคะโปตะโก วา

นาคะโปติกา วา นาคะมะหามัตโต วา นาคะปาริสัชโช วา

นาคะปะจาโร วา ปะทุฏฐะจิตโต ภิกขุง วา ภิกขุนิง วา อุปาสะกัง

วา อุปาสิกัง วา คัจฉันตัง วา อะนุคัจเฉยยะ ฐิตัง วา อุปะติฏเฐยยะ

นิสินนัง วา อุปะนิสีเทยยะ นิปันนัง วา อุปะนิปัชเชยยะ ฯ นะ

เม โส มาริสะ อะมะนุสโส ละเภยยะ คาเมสุ วา นิคะเมสุ วา

สักการัง วา คะรุการัง วา นะ เม โส มาริสะ อะมะนุสโส

ละเภยยะ อาฬะกะมัณฑายะ นามะ ราชะธานิยา วัตถุง วา

วาสัง วา นะ เม โส มาริสะ อะมะนุสโส ละเภยยะ ยักขานัง

สะมิติง คันตุง อะปิสสุนัง มาริสะ อะมะนุสสา อะนะวัยหัมปิ

นัง กะเรยยุง อะวิวัยหัง อะปิสสุนัง มาริสะ อะมะนุสสา

อัตตาหิปิ ปะริปุณณาหิ ปะริภาสาหิ ปะริภาเสยยุง อะปิสสุนัง

มาริสะ อะมะนุสสา ริตตัมปิ ปัตตัง สีเส นิกกุชเชยยุง อะปิสสุนัง

มาริสะ อะมะนุสสา สัตตะธาปิสสะ มุทธัง ผาเลยยุง สันติ

หิ มาริสะ อะมะนุสสา จัณฑา รุทธา ระภะสา เต เนวะ

มะหาราชานัง อาทิยันติ นะ มะหาราชานัง ปุริสะกานัง อาทิยันติ

นะ มะหาราชานัง ปุริสะกานัง ปุริสะกานัง อาทิยันติ เต โข เต

มาริสะ อะมะนุสสา มะหาราชานัง อะวะรุทธา นามะ วุจจันติ

เสยยะถาปิ มาริสะ รัญโญ มาคะธัสสะ วิชิเต โจรา เต เนวะ

รัญโญ มาคะธัสสะ อาทิยันติ นะ รัญโญ มาคะธัสสะ ปุริสะกานัง

อาทิยันติ นะ รัญโญ มาคะธัสสะ ปุริสะกานัง ปุริสะกานัง

อาทิยันติ เต โข เต มาริสะ มะหาโจรา รัญโญ มาคะธัสสะ

อะวะรุทธา นามะ วุจจันติ เอวะเมวะ โข มาริสะ สันติ หิ

อะมะนุสสา จัณฑา รุทธา ระภะสา เต เนวะ มะหาราชานัง

อาทิยันติ นะ มะหาราชานัง ปุริสะกานัง อาทิยันติ นะ มะหาราชานัง

ปุริสะกานัง ปุริสะกานัง อาทิยันติ เต โข เต มาริสะ อะมะนุสสา

มะหาราชานัง อะวะรุทธา นามะ วุจจันติ โย หิ โกจิ มาริสะ

อะมะนุสโส ยักโข วา ยักขินี วา ยักขะโปตะโก วา ยักขะโปติกา

วา ยักขะมะหามัตโต วา ยักขะปาริสัชโช วา ยักขะปะจาโร วา

คันธัพโพ วา คันธัพพี วา คันธัพพะโปตะโก วา คันธัพพะโปติกา

วา คันธัพพะมะหามัตโต วา คันธัพพะปาริสัชโช วา คันธัพพะปะจาโร

วา กุมภัณโฑ วา กุมภัณฑี วา กุมภัณฑะโปตะโก วา กุมภัณฑะโปติกา

วา กุมภัณฑะมะหามัตโต วา กุมภัณฑะปาริสัชโช วา กุมภัณฑะ-

ปะจาโร วา นาโค วา นาคินี วา นาคะโปตะโก วา นาคะโปติกา

วา นาคะมะหามัตโต วา นาคะปาริสัชโช วา นาคะปะจาโร วา

ปะทุฏฐะจิตโต ภิกขุง วา ภิกขุนิง วา อุปาสะกัง วา อุปาสิกัง

วา คัจฉันตัง วา อะนุคัจเฉยยะ ฐิตัง วา อุปะติฏเฐยยะ นิสินนัง

วา อุปะนิสีเทยยะ นิปันนัง วา อุปะนิปัชเชยยะ อิเมสัง

ยักขานัง มะหายักขานัง เสนาปะตีนัง มะหาเสนาปะตีนัง

อุชฌาเปตัพพัง วิกกันทิตัพพัง วิระวิตัพพัง อะยัง ยักโข

คัณหาติ อะยัง ยักโข อาวีสะติ อะยัง ยักโข เหเฐติ อะยัง

ยักโข วิเหเฐติ อะยัง ยักโข หิงสะติ อะยัง ยักโข วิหิงสะติ

อะยัง ยักโข นะ มุญจะตีติ ฯ กะตะเมสัง ยักขานัง มะหายักขานัง

เสนาปะตีนัง มะหาเสนาปะตีนัง ฯ

อินโท โสโม วะรุโณ จะ ภารัท๎วาโช ปะชาปะติ

จันทะโน กามะเสฏโฐ จะ กินนุฆัณฑุ นิฆัณฑุ จะ

ปะนาโท โอปะมัญโญ จะ เทวะสูโต จะ มาตะลิ

จิตตะเสโน จะ คันธัพโพ นะโฬราชา ชะโนสะโภ

สาตาคิโร เหมะวะโต ปุณณะโก กะระติโย คุโฬ

สิวะโก มุจจะลินโท จะ เวสสามิตโต ยุคันธะโร

โคปาโล สุปปะเคโธ จะ หิริเนตติ จะ มันทิโย

ปัญจาละจันโท อาฬะวะโก ปะชุนโน

สุมะโน สุมุโข ทะธิมุโข

มะณิ มาณิจะโร ทีโฆ อะโถ เสริสะโก สะหะ ฯ

อิเมสัง ยักขานัง มะหายักขานัง เสนาปะนีตัง มะหาเสนา-

ปะตีนัง อุชฌาเปตัพพัง วิกกันทิตัพพัง วิระวิตัพพัง อะยัง ยักโข

คัณหาติ อะยัง ยักโข อาวีสะติ อะยัง ยักโข เหเฐติ อะยัง ยักโข

วิเหเฐติ อะยัง ยักโข หิงสะติ อะยัง ยักโข วิหิงสะติ อะยัง

ยักโข นะ มุญจะตีติ ฯ อะยัง โข สา มาริสะ อาฏานาฏิยา

รักขา ภิกขูนัง ภิกขุนีนัง อุปาสะกานัง อุปาสิกานัง คุตติยา

รักขายะ อะวิหิงสายะ ผาสุวิหารายาติ ฯ หันทะ จะทานิ มะยัง

มาริสะ คัจฉามะ พะหุกิจจา มะยัง พะหุกะระณียาติ ฯ ยัสสะทานิ

ตุม๎เห มะหาราชาโน กาลัง มัญญะถาติ ฯ

อะถะโข จัตตาโร มะหาราชา อุฏฐายาสะนา ภะคะวันตัง

อะภิวาเทตะวา ปะทักขิณัง กัต๎วา ตัตเถวันตะระธายิงสุ ฯ เตปิ

โข ยักขา อุฏฐายาสะนา อัปเปกัจเจ ภะคะวันตัง อะภิวาเทตะวา

ปะทักขิณัง กัต๎วา ตัตเถวันตะระธายิงสุ อัปเปกัจเจ ภะคะวะตา

สัทธิง สัมโมทิงสุ สัมโทะนียัง กะถัง สาราณียัง วีติสาเรตะวา

ตัตเถวันตะระธายิงสุ อัปเปกัจเจ เยนะ ภะคะวา เตนัญชะลิมปะ-

ณาเมตะวา ตัตเถวันตะระธายิงสุ อัปเปกัจเจ นามะโคตตัง สาเวตะวา

ตัตเถวันตะระธายิงสุ อัปเปกัจเจ ตุณ๎หีภูตา ตัตเถวันตะระธายิงสุ ฯ



http://www.watpamafai.org/index.php?mo=3&art=304602
บันทึกการเข้า
เกียรติคุณ
ผู้ปฏิบัติธรรม
*****

พลังความดี : 65


เพศ: ชาย
อายุ: 46
กระทู้: 958
สมาชิก ID: 841


« ตอบ #21 เมื่อ: ธันวาคม 14, 2014, 10:11:39 AM »

Permalink: สวดมนต์ เพื่อให้ถึงกรรมฐาน ๔ (พระปริตร)

๑๐. มรณัสสติสูตรที่ ๒


[๒๙๑] สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ ปราสาทสร้าง
ด้วยอิฐ ใกล้บ้านนาทิกคาม ณ ที่นั้นแล พระผู้มีพระภาคตรัสกะภิกษุทั้งหลายว่า

          ดูกรภิกษุทั้งหลาย มรณัสสติอันภิกษุเจริญแล้ว ทำให้มากแล้ว ย่อมมีผล มาก มีอานิสงส์มาก หยั่งลงสู่อมตะ มีอมตะเป็นที่สุด
          ก็มรณัสสติอันภิกษุเจริญแล้วอย่างไร ทำให้มากแล้วอย่างไร ย่อมมีผลมาก มีอานิสงส์มาก หยั่งลงสู่อมตะ มีอมตะเป็นที่สุด


          ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เมื่อกลางวันผ่านไป กลางคืนย่างเข้ามา ย่อมพิจารณาเห็นดังนี้ว่า

          เหตุแห่งความตายของเรามีมากหนอ คือ งูพึงกัดเรา แมลงป่องพึงต่อยเรา หรือตะขาบพึงกัดเรา เราพึงตายเพราะเหตุนั้น อันตรายนั้นพึงมีแก่เรา เราพึงพลาดล้มลง อาหารที่เราฉันแล้วไม่พึงย่อย ดีของเราพึงกำเริบ เสมหะของเราพึงกำเริบ หรือลมที่มีพิษเพียงดังศัสตราของเราพึงกำเริบ เราพึงตาย เพราะเหตุนั้น อันตรายนั้นพึงมีแก่เรา
          ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุนั้นพึงพิจารณาเห็นดังนี้ว่า ธรรมอันเป็นบาปอกุศลที่เรายังละไม่ได้ อันจะพึงเป็นอันตรายแก่เราผู้กระทำกาละในกลางคืน มีอยู่หรือหนอ
          ถ้าภิกษุพิจารณาอยู่ ย่อมทราบอย่างนี้ว่า ธรรมอันเป็นบาปอกุศลที่เรายังไม่ได้ละ อันจะพึงเป็นอันตรายแก่เราผู้กระทำกาละในกลางคืน ยังมีอยู่ ภิกษุนั้นพึงทำฉันทะ ความพยายาม ความอุตสาหะ(ความพยายาม อดทนบากบั่น ไม่ย่อท้อ) ความเพียร(วิริยะ ) ความไม่ท้อถอย สติและสัมปชัญญะ
ให้มีประมาณยิ่ง เพื่อละธรรมอันเป็นบาปอกุศลเหล่านั้น
          เปรียบเหมือนบุคคลผู้มีผ้าโพกศีรษะถูกไฟไหม้ หรือมีศีรษะถูกไฟไหม้ พึงทำฉันทะ ความพยายาม ความอุตสาหะ ความเพียร ความไม่ท้อถอย สติและสัมปชัญญะ ให้มีประมาณยิ่ง เพื่อดับผ้าโพกศีรษะหรือศีรษะนั้น ฉะนั้น
          ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ถ้าภิกษุพิจารณาอยู่ย่อมทราบอย่างนี้ว่า ธรรมอันเป็นบาปอกุศลที่เรายังละไม่ได้ อันจะพึงเป็นอันตรายแก่เราผู้กระทำกาละในกลางคืนไม่มี ภิกษุนั้นพึงเป็นผู้มีปีติและปราโมทย์ ตามศึกษาในกุศลธรรมทั้งหลายทั้งกลางวันกลางคืนอยู่เถิด

          ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เมื่อกลางคืนผ่านไป กลางวันย่างเข้ามา ย่อมพิจารณาเห็นดังนี้ว่า

          เหตุแห่งความตายของเรามีมากหนอ คือ งูพึงกัดเรา แมลงป่องพึงต่อยเรา หรือตะขาบพึงกัดเรา เราพึงตายเพราะเหตุนั้น อันตรายนั้นพึงมีแก่เรา เราพึงพลาดล้มลง อาหารที่เราฉันแล้วไม่พึงย่อย ดีของเราพึงกำเริบ เสมหะของเราพึงกำเริบ หรือลมที่มีพิษเพียงศาตราของเราพึงกำเริบ เราพึงตาย เพราะเหตุนั้น อันตรายนั้นพึงมีแก่เรา
          ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุนั้นพึงพิจารณาเห็นดังนี้ว่า ธรรมอันเป็นบาป อกุศลที่เรายังละไม่ได้ อันจะพึงเป็นอันตรายแก่เราผู้กระทำกาละในกลางวัน มีอยู่หรือหนอ
          ถ้าภิกษุพิจารณาอยู่ ย่อมทราบอย่างนี้ว่า ธรรมอันเป็นบาปอกุศลที่เรายังละไม่ได้ อันจะพึงเป็นอันตรายแก่เราผู้กระทำกาละในกลางวัน ยังมีอยู่ ภิกษุนั้นพึงทำฉันทะ ความพยายาม ความอุตสาหะ ความเพียร ความไม่ท้อถอย สติและสัมปชัญญะ ให้มีประมาณยิ่ง เพื่อละธรรมอันเป็นบาปอกุศลเหล่านั้น เปรียบเหมือนบุคคลผู้มีผ้าโพกศีรษะถูกไฟไหม้ หรือมีศีรษะถูกไฟไหม้ พึงทำฉันทะ ความพยายาม ความอุตสาหะ ความเพียร ความไม่ท้อถอย สติและสัมปชัญญะ ให้มีประมาณยิ่ง เพื่อดับผ้าโพกศีรษะหรือศีรษะนั้น ฉะนั้น
          ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ถ้าภิกษุพิจารณาอยู่ย่อมทราบอย่างนี้ว่าธรรมอันเป็นบาปอกุศลที่เรายังละไม่ได้ อันจะพึงเป็นอันตรายแก่เราผู้กระทำกาละในกลางวันไม่มี ภิกษุนั้นพึงเป็นผู้มีปีติและปราโมทย์ ตามศึกษาในกุศลธรรมทั้งหลายทั้งกลางวันกลางคืนอยู่เถิด
          ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็มรณัสสติอันภิกษุเจริญแล้วอย่างนี้ ทำให้มากแล้วอย่างนี้ ย่อมมีผลมาก มีอานิสงส์มาก หยั่งลงสู่อมตะ มีอมตะเป็นที่สุด ฯ



จบสูตรที่ ๑๐
จบสาราณิยาทิวรรคที่ ๒


-----------------------------------------------------


รวมพระสูตรที่มีในวรรคนี้ คือ
             ๑. สาราณิยสูตรที่ ๑ ๒. สาราณิยสูตรที่ ๒ ๓. เมตตสูตร
๔. ภัททกสูตร ๕. อนุตัปปิยสูตร ๖. นกุลสูตร ๗. กุสลสูตร
๘. มัจฉสูตร ๙. มรณัสสติสูตรที่ ๑ ๑๐. มรณัสสติสูตรที่ ๒ ฯ
-----------------------------------------------------

             เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๒  บรรทัดที่ ๗๒๕๕ - ๗๓๐๖.  หน้าที่  ๓๑๘ - ๓๒๐.
 http://www.84000.org/tipitaka/pitaka2/v.php?B=22&A=7255&Z=7306&pagebreak=0
             ศึกษาอรรถกถานี้ ได้ที่ :-
http://www.84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=22&i=291
             สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๒
http://www.84000.org/tipitaka/read/?สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่_๒๒
http://www.84000.org/tipitaka/read/?index_22





« แก้ไขครั้งสุดท้าย: ธันวาคม 14, 2014, 10:25:19 AM โดย เกียรติคุณ » บันทึกการเข้า
หน้า: 1 [2]  ทั้งหมด   ขึ้นบน
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  


บทความและไฟล์ภาพ ในเว็บไซต์แห่งนี้อาจนำมาจากเว็บไซต์อื่นๆ ที่ทีมงานคิดว่ามีประโชยน์ต่อผู้อ่าน โดยให้ผู้อ่านเกิดควมบันเทิง และให้ความรู้ โดยที่เราจะให้เครดิตทุกครั้งที่นำมา หากไฟล์ภาพหรือบทความใด ที่เจ้าของลิขสิทธิ์ไม่ต้องการให้นำมาแสดง โปรดแจ้งมาที่ tumcomputer@hotmail.com ทางทีมงานจะได้นำบทความนั้นออกทันที ขอบคุณครับ


เว็บนี้จัดทำโดย นายสุรัตน์ ศรลัมภ์ และครอบครัว อุทิศบุญให้เจ้ากรรมนายเวร และผู้มีพระคุณ

HTML Hit Counters
Powered by SMF 1.1.17 | Simple Machines|Copyright © 20010 BY : thammaonline.com
บทความธรรมะรวมเรื่องกฏแห่งกรรมสมาธิ วิปัสนากรรมฐานพลังจิตกระดานถาม-ตอบ Sitemap

Google มาเยี่ยมเว็บเมื่อ มีนาคม 30, 2024, 10:15:16 AM